ชื่อสารเคมี : โทลูอีดีน บลู
ชื่อภาษาอังกฤษ : Toluidine Blue
สูตรโครงสร้าง : (C15H16ClN3S).1/2ZnCl2
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารละลายในห้องปฏิบัติการ , เป็นสารในการผลิตสีย้อมสารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์ และอีเทอร์สารนี้ละลายน้ำได้เล็กน้อย
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใส/เหลืองไม่มีสีกลิ่นหอมหวาน
จุดเดือด : 202 °C , จุดหลอมเหลว : -14.7 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และเก็บ
- สารนี้สามารถเกิดปฎิกิริยารุนแรงกับกรด
- สารนี้เพื่อสัมผัสกับแสงและอากาศ จะเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำตาลแดง
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์, กรด
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟ, อากาศ, แสง และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดการปล่อยคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารที่เป็นของเหลว และไอระเหยไวไฟ
- ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ
การจัดเก็บ :
- เก็บโดยมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บภายนอกอาคารหรือในบริเวณพิเศษสำหรับการเก็บ
- เก็บในบริเวณสำหรับการเก็บของเหลวไวไฟ
- เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ แหล่งจุดติดไฟ และความร้อน
- ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณเก็บสารเคมี
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Toluidine Blue
สูตรโครงสร้าง : (C15H16ClN3S).1/2ZnCl2
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารละลายในห้องปฏิบัติการ , เป็นสารในการผลิตสีย้อมสารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์ และอีเทอร์สารนี้ละลายน้ำได้เล็กน้อย
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใส/เหลืองไม่มีสีกลิ่นหอมหวาน
จุดเดือด : 202 °C , จุดหลอมเหลว : -14.7 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และเก็บ
- สารนี้สามารถเกิดปฎิกิริยารุนแรงกับกรด
- สารนี้เพื่อสัมผัสกับแสงและอากาศ จะเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำตาลแดง
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์, กรด
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟ, อากาศ, แสง และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดการปล่อยคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารที่เป็นของเหลว และไอระเหยไวไฟ
- ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ
การจัดเก็บ :
- เก็บโดยมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บภายนอกอาคารหรือในบริเวณพิเศษสำหรับการเก็บ
- เก็บในบริเวณสำหรับการเก็บของเหลวไวไฟ
- เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ แหล่งจุดติดไฟ และความร้อน
- ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณเก็บสารเคมี
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ