ชื่อสารเคมี : กรดออกซาลิก
ชื่อภาษาอังกฤษ : Oxalic Acid
สูตรโครงสร้าง : C2H2O4
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารกัดกร่อนไนโอเนียม เป็นสาร anodizing ใช้หล่อโลหะผสมทองแดง
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกใสไม่มีสีไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : 160 °C , จุดหลอมเหลว : 101.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- สารนี้เป็นของแข็งไวไฟ และติดไฟที่อุณหภูมิต่ำกว่า 101 องศาเซลเซียส
- สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง และสารประกอบซิลเวอร์บางตัว ทำให้เกิดการระเบิดได้
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : เบส คลอไรด์ ไฮโปคลอไรด์ สารออกซิไดซ์ เฟอพูริวแอลกอฮอล์
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดอกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อสัมผัสกับความร้อน ทำให้เกิดการสลายตัว และอาจทำให้เกิดกรดฟอร์มิก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได้
- ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้
- ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Oxalic Acid
สูตรโครงสร้าง : C2H2O4
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารกัดกร่อนไนโอเนียม เป็นสาร anodizing ใช้หล่อโลหะผสมทองแดง
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกใสไม่มีสีไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : 160 °C , จุดหลอมเหลว : 101.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- สารนี้เป็นของแข็งไวไฟ และติดไฟที่อุณหภูมิต่ำกว่า 101 องศาเซลเซียส
- สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง และสารประกอบซิลเวอร์บางตัว ทำให้เกิดการระเบิดได้
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : เบส คลอไรด์ ไฮโปคลอไรด์ สารออกซิไดซ์ เฟอพูริวแอลกอฮอล์
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดอกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อสัมผัสกับความร้อน ทำให้เกิดการสลายตัว และอาจทำให้เกิดกรดฟอร์มิก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได้
- ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้
- ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ