ชื่อสารเคมี : ไอโซโพรพานอล
ชื่อภาษาอังกฤษ : Iso - Propanol
สูตรโครงสร้าง : C3H8O
ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางค์ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและสารนี้ละลายน้ำได้
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสกลิ่นฉุน
จุดเดือด : 82.3 °C , จุดหลอมเหลว : -88.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความลงตัวทางเคมี : สารนี้เสถียร เกิดรูปเปอร์ออกไซด์ในความมืด และไวต่อแสงแดด ทำให้อยู่ในรูปของคีโตนเมื่อเกิดปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดรีน
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์อย่างแรง (โครเมียมไตรออกไซด์ , เปอร์คลอเรต , เปอร์ออกไซด์) ซึ่งเสี่ยงต่อการติดไฟ , ระเบิด กรดเข้มข้น (กรดไนตริก , กรดซัลฟูริก , โอลีน) ปฎิกริยาที่รุนแรงและอันตราย โลหะอัลคาไลน์ และอัลคาไลน์เอริท์ (ไม่เกิดการติดไฟได้ก๊าซไฮโดรเจน) อลูมิเนียม เกิดปฏิกริยารุนแรง และไม่ให้ความร้อนโครโตนานดีไฮน์หรือฟอสจีน , โพแทลเซี่ยลบิวทิวออกไซด์ , ไตรไนโตรมีเทป
- สภาพที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟ , ประกายไฟ , ประจุไฟฟ้า , ความร้อน และสารติดไฟ , แสง
- การกัดกร่อนของโลหะ : แอนไฮดริส โพรพานอลไม่กัดกร่อนเหล็ก , สเตนเลท , เหล็กกล้า , ทองแดงและบรอนซ์ และอัลลอยด์ที่อุณหภูมิปกติ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ทนต่อแรงกระแทก , ไวต่อประจุไฟฟ้า
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ , การกัดกร่อนและสารไม่เข้ากัน หรือกรดเข้มข้น , กรดแอนไฮไดรส์ , ธาตุอัลคาไลฟ์ , ธาตุอัลคาไลน์เอริท (โลหะ ควรจะปิดฉลากไว้ด้วยและเขียนคุณสมบัติของสารไว้ด้วย)
- เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน เปลวไฟ แสงแดด
- สถานที่เก็บไม่ควรมีสื่อที่สามารถติดไฟได้ เช่น บุหรี่ ไม้ขีดไฟ ไฟ
- ควรปิดฝาภาชนะเมื่อไม่ใช้
- ไม่ควรนำสารที่เหลือจากการใช้กลับมาใส่ภาชนะบรรจุอีก และควรปิดฉลากไว้ด้วย
- สารนี้ไวไฟ เป็นสารพิษ และสารระคายเคืองตา
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Iso - Propanol
สูตรโครงสร้าง : C3H8O
ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางค์ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและสารนี้ละลายน้ำได้
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสกลิ่นฉุน
จุดเดือด : 82.3 °C , จุดหลอมเหลว : -88.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความลงตัวทางเคมี : สารนี้เสถียร เกิดรูปเปอร์ออกไซด์ในความมืด และไวต่อแสงแดด ทำให้อยู่ในรูปของคีโตนเมื่อเกิดปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดรีน
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์อย่างแรง (โครเมียมไตรออกไซด์ , เปอร์คลอเรต , เปอร์ออกไซด์) ซึ่งเสี่ยงต่อการติดไฟ , ระเบิด กรดเข้มข้น (กรดไนตริก , กรดซัลฟูริก , โอลีน) ปฎิกริยาที่รุนแรงและอันตราย โลหะอัลคาไลน์ และอัลคาไลน์เอริท์ (ไม่เกิดการติดไฟได้ก๊าซไฮโดรเจน) อลูมิเนียม เกิดปฏิกริยารุนแรง และไม่ให้ความร้อนโครโตนานดีไฮน์หรือฟอสจีน , โพแทลเซี่ยลบิวทิวออกไซด์ , ไตรไนโตรมีเทป
- สภาพที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟ , ประกายไฟ , ประจุไฟฟ้า , ความร้อน และสารติดไฟ , แสง
- การกัดกร่อนของโลหะ : แอนไฮดริส โพรพานอลไม่กัดกร่อนเหล็ก , สเตนเลท , เหล็กกล้า , ทองแดงและบรอนซ์ และอัลลอยด์ที่อุณหภูมิปกติ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ทนต่อแรงกระแทก , ไวต่อประจุไฟฟ้า
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ , การกัดกร่อนและสารไม่เข้ากัน หรือกรดเข้มข้น , กรดแอนไฮไดรส์ , ธาตุอัลคาไลฟ์ , ธาตุอัลคาไลน์เอริท (โลหะ ควรจะปิดฉลากไว้ด้วยและเขียนคุณสมบัติของสารไว้ด้วย)
- เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน เปลวไฟ แสงแดด
- สถานที่เก็บไม่ควรมีสื่อที่สามารถติดไฟได้ เช่น บุหรี่ ไม้ขีดไฟ ไฟ
- ควรปิดฝาภาชนะเมื่อไม่ใช้
- ไม่ควรนำสารที่เหลือจากการใช้กลับมาใส่ภาชนะบรรจุอีก และควรปิดฉลากไว้ด้วย
- สารนี้ไวไฟ เป็นสารพิษ และสารระคายเคืองตา
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ