ชื่อสารเคมี : เพนทานอล
ชื่อภาษาอังกฤษ : Pentanol
สูตรโครงสร้าง : CH3CH2CH2CH2CH2OH
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Laboratory Reagent)
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสไม่มีสีกลิ่นเหล้า
จุดเดือด : 133 °C , จุดหลอมเหลว : -74 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง, กรดไนตริก, กรดซัลฟูริก โลหะอัลคาไล โลหะอัคลาไลน์เอิรธ์
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได้
-ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ และสารออกซิไดซ์
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Pentanol
สูตรโครงสร้าง : CH3CH2CH2CH2CH2OH
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Laboratory Reagent)
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสไม่มีสีกลิ่นเหล้า
จุดเดือด : 133 °C , จุดหลอมเหลว : -74 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง, กรดไนตริก, กรดซัลฟูริก โลหะอัลคาไล โลหะอัคลาไลน์เอิรธ์
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได้
-ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ และสารออกซิไดซ์
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ