ชื่อสารเคมี : โซเดียมเบนโซเอต
ชื่อภาษาอังกฤษ : Sodium Benzoate
สูตรโครงสร้าง : C6H5COONa
ประโยชน์ : เป็นสารกันบูด เป็นสารเคมีใช้ทั่วไป ใช้เป็นสารถนอมอาหาร , ใช้ในการผลิตกระดาษ , ใช้ในการโพโตกราฟี และใช้ในการผลิตสารชนิดอื่นและสารนี้ละลายน้ำได้
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผงสีขาวกลิ่นฉุน
จุดเดือด : 146 °C , จุดหลอมเหลว : 150 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : ทำปฏิกิริยารุนแรงกับความชื้น, สารออกซิไดซ์, กรด, เบส
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟ, สารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : หลีกเลี่ยงสารละลายโซเดียมไนไตรล์, ผงอะลูมิเนียม, เมื่อสารสลายตัวในอากาศเกิดก๊าซของกรดซัลฟูริก การสัมผัสความชื้น เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เป็นพิษ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้สามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิสูง ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้จะเกิดสารออกซิไดส์
- ในระหว่างเพลิงไหม้ เกิดโซเดียมซัลไฟด์ที่ทำให้เกิดเพลิงไหม้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากความร้อน, แหล่งจุดติดไฟ, สารที่เข้ากันไม่ได้ เช่น สารออกซิไดซ์, กรด, เบส, ความชื้น
- ภาชนะที่ว่างปล่าจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ให้ไว้ในตู้ดูดควันสารเคมี
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Sodium Benzoate
สูตรโครงสร้าง : C6H5COONa
ประโยชน์ : เป็นสารกันบูด เป็นสารเคมีใช้ทั่วไป ใช้เป็นสารถนอมอาหาร , ใช้ในการผลิตกระดาษ , ใช้ในการโพโตกราฟี และใช้ในการผลิตสารชนิดอื่นและสารนี้ละลายน้ำได้
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผงสีขาวกลิ่นฉุน
จุดเดือด : 146 °C , จุดหลอมเหลว : 150 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : ทำปฏิกิริยารุนแรงกับความชื้น, สารออกซิไดซ์, กรด, เบส
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟ, สารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : หลีกเลี่ยงสารละลายโซเดียมไนไตรล์, ผงอะลูมิเนียม, เมื่อสารสลายตัวในอากาศเกิดก๊าซของกรดซัลฟูริก การสัมผัสความชื้น เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เป็นพิษ
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้สามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิสูง ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้จะเกิดสารออกซิไดส์
- ในระหว่างเพลิงไหม้ เกิดโซเดียมซัลไฟด์ที่ทำให้เกิดเพลิงไหม้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บห่างจากความร้อน, แหล่งจุดติดไฟ, สารที่เข้ากันไม่ได้ เช่น สารออกซิไดซ์, กรด, เบส, ความชื้น
- ภาชนะที่ว่างปล่าจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ให้ไว้ในตู้ดูดควันสารเคมี
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ