ชื่อสารเคมี : เบนซีน
ชื่อภาษาอังกฤษ : Benzene
สูตรโครงสร้าง : C6H6
ประโยชน์ : ใช้ในขบวนการผลิตเอทิลเบนซิล คูมีน ไซโคลเฮกเซน ไนโตรเบนซีน ดีเทอเจนอัลคีเลท คลอโรเบนซีน และมาลีอิกแอนไฮไดร เบนซีนจะถูกใช้เป็นสารตัวทำละลายและสารทำปฏิกิริยาในห้องปฏิบัติการ (สารนี้ไม่ละลายน้ำ)
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสไม่มีสีกลิ่นหอมฉุน
จุดเดือด : 80 °C , จุดหลอมเหลว : 5.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : โซเดียมเปอร์ออกไซด์ ไพแทสเซียมเปอร์ออกไซด์ โครมิกแอนไฮไดร เปอร์เมรกานิกแดซิด คลอรีน ไนตริกแดซิด โอโซน ไดโบแรมอินเตอร์ฮาโลเจน ไดออกซิเจน ไดฟลูออไรด์ ไดออกซิเจนนิล เตตระฟลูออโรบอเรต เปอร์แมงกานิกแอซิด เปอรอกซ์โซไดซิลฟูริกแอซิด เมทัลเปอร์คลอเรต ไนตริลเปอร์คลอเรต และแหล่งจุดติดไฟ
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ ความร้อน และแหล่งจุดติดไฟ
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ อัลดีไฮด์ และคีโตน
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น
- สารนี้ไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนต่อโลห
- สารนี้สามารถทำลายโครงสร้างของยางและพลาสติก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ
- ไอระเหยของสารนี้สามารถลุกติดไฟในช่วงของขีดจำกัดการติดไฟ และเกิดการลุกติดไฟได้โดยประจุไฟฟ้าสถิตย์
- ไอระเหยของสารสามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิห้อง
- ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
- ของเหลวของสารสามารถลอยตัวอยู่บนผิวน้ำ และเกิดการแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้เกิดการแพร่กระจายของไฟได้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Benzene
สูตรโครงสร้าง : C6H6
ประโยชน์ : ใช้ในขบวนการผลิตเอทิลเบนซิล คูมีน ไซโคลเฮกเซน ไนโตรเบนซีน ดีเทอเจนอัลคีเลท คลอโรเบนซีน และมาลีอิกแอนไฮไดร เบนซีนจะถูกใช้เป็นสารตัวทำละลายและสารทำปฏิกิริยาในห้องปฏิบัติการ (สารนี้ไม่ละลายน้ำ)
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสไม่มีสีกลิ่นหอมฉุน
จุดเดือด : 80 °C , จุดหลอมเหลว : 5.5 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : โซเดียมเปอร์ออกไซด์ ไพแทสเซียมเปอร์ออกไซด์ โครมิกแอนไฮไดร เปอร์เมรกานิกแดซิด คลอรีน ไนตริกแดซิด โอโซน ไดโบแรมอินเตอร์ฮาโลเจน ไดออกซิเจน ไดฟลูออไรด์ ไดออกซิเจนนิล เตตระฟลูออโรบอเรต เปอร์แมงกานิกแอซิด เปอรอกซ์โซไดซิลฟูริกแอซิด เมทัลเปอร์คลอเรต ไนตริลเปอร์คลอเรต และแหล่งจุดติดไฟ
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ ความร้อน และแหล่งจุดติดไฟ
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ อัลดีไฮด์ และคีโตน
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น
- สารนี้ไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนต่อโลห
- สารนี้สามารถทำลายโครงสร้างของยางและพลาสติก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ
- ไอระเหยของสารนี้สามารถลุกติดไฟในช่วงของขีดจำกัดการติดไฟ และเกิดการลุกติดไฟได้โดยประจุไฟฟ้าสถิตย์
- ไอระเหยของสารสามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิห้อง
- ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา
- ของเหลวของสารสามารถลอยตัวอยู่บนผิวน้ำ และเกิดการแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้เกิดการแพร่กระจายของไฟได้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ
- เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง
- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ