ชื่อสารเคมี : เอททิลอะซีเตรต
ชื่อภาษาอังกฤษ : Ethylacetate
สูตรโครงสร้าง : CH3COOC2H5
ประโยชน์ : ใช้สารเติมแต่งในเครื่องสำอาง , ใช้เป็นตัวทำละลาย, เนื่องจากเป็นสารที่มีกลิ่นหอมมาก และละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น แอลกอฮอล์ ปิโตรเลียมอีเทอร์ เฮกเซน เป็นต้น
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสกลิ่นหอมมาก
จุดเดือด : 77.2 °C , จุดหลอมเหลว : -83 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร
- อันตรายจากการเกิดพอลิเมอร์ไรเซชั่น : จะไม่เกิดขึ้น
- สภาวะ : ควรหลีกเลี่ยงความร้อน สัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซียม เตริกบิวทอกไซด์
- ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค
- สารที่ควรหลีกเลี่ยง : กรด สารออกซิไดซ์ สารอัลคาไลท์ที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- ไอระหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้ผสมกับอากาศ ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นได้ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปลี่ยนแปลง
- ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับห้องปฏิบัติงานภายใต้สูญญากาศ ถ้าอากาศเข้าไปอย่างทันทีทันใดหรือการปฏิบัติงานภายใต้ความดันสูงถ้าไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกิดขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟีย
การจัดเก็บ :
- เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท
- เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิเย็น แห้ง
- เก็บไว้ในที่มีการระบายอากาศ
- เก็บให้ห่างจากแหล่งที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ์
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Ethylacetate
สูตรโครงสร้าง : CH3COOC2H5
ประโยชน์ : ใช้สารเติมแต่งในเครื่องสำอาง , ใช้เป็นตัวทำละลาย, เนื่องจากเป็นสารที่มีกลิ่นหอมมาก และละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น แอลกอฮอล์ ปิโตรเลียมอีเทอร์ เฮกเซน เป็นต้น
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นของเหลวใสกลิ่นหอมมาก
จุดเดือด : 77.2 °C , จุดหลอมเหลว : -83 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร
- อันตรายจากการเกิดพอลิเมอร์ไรเซชั่น : จะไม่เกิดขึ้น
- สภาวะ : ควรหลีกเลี่ยงความร้อน สัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซียม เตริกบิวทอกไซด์
- ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค
- สารที่ควรหลีกเลี่ยง : กรด สารออกซิไดซ์ สารอัลคาไลท์ที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- ไอระหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้ผสมกับอากาศ ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นได้ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปลี่ยนแปลง
- ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับห้องปฏิบัติงานภายใต้สูญญากาศ ถ้าอากาศเข้าไปอย่างทันทีทันใดหรือการปฏิบัติงานภายใต้ความดันสูงถ้าไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกิดขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟีย
การจัดเก็บ :
- เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท
- เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิเย็น แห้ง
- เก็บไว้ในที่มีการระบายอากาศ
- เก็บให้ห่างจากแหล่งที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ์
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ