ชื่อสารเคมี : แคลเซียมฟอสเฟต
ชื่อภาษาอังกฤษ : Calcium phosphate
สูตรโครงสร้าง : Ca3(PO4)2
ประโยชน์ :
- ใช้ทำอาหารสัตว์, แร่ธาตุในอาหารเสริม, อาหารอื่น ๆ , สารขัดฟันในยาสีฟัน, ผงฟู, แคลเซียมเสริม, ใช้ในการผลิตแก้ว
- ยา และฟอสเฟอร์ , ในอุตสาหกรรมยา , ทำปุ๋ย, สารทำให้พลาสติกอยู่ตัว , ทำแป้งเค้ก , ยีสต์
- ละลายในกรดไฮโดรคลอริกและกรดไนตริก, ละลายได้เล็กน้อยในกรดอะซิติก, ไม่ละลายในเอทานอล
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : สลายตัว/ความร้อน ,จุดหลอมเหลว : 109 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรดแก่ ( เช่น กรดซัลฟูริค ) ทำให้เกิดปฏิกิริยารุนแรง
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูง , การเกิดฝุ่น
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น
- สารกัดกร่อนโลหะ : มีฤทธิ์กัดกร่อนอลูมิเนียมที่อุณหภูมิสูง
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ไม่ไวไฟ และไม่ก่อให้เกิดการติดไฟ
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการทำลายทางกายภาพ เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บสารไว้ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด เมื่อไม่ได้ใช้งาน และภาชนะที่ว่างเปล่า
- หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น
- เก็บแยกจากบริเวณเก็บสารเคมี
- ใช้เครื่องดูดฝุ่น ในการเก็บกวาดสารหกรั่วไหล
- อย่าใช้สารนี้กับสารที่เข้ากันไม่ได้ เช่น กรดแก่ , เบสแก่
- ติดฉลาก และหลีกเลี่ยงการทำลายภาชนะบรรจุ
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Calcium phosphate
สูตรโครงสร้าง : Ca3(PO4)2
ประโยชน์ :
- ใช้ทำอาหารสัตว์, แร่ธาตุในอาหารเสริม, อาหารอื่น ๆ , สารขัดฟันในยาสีฟัน, ผงฟู, แคลเซียมเสริม, ใช้ในการผลิตแก้ว
- ยา และฟอสเฟอร์ , ในอุตสาหกรรมยา , ทำปุ๋ย, สารทำให้พลาสติกอยู่ตัว , ทำแป้งเค้ก , ยีสต์
- ละลายในกรดไฮโดรคลอริกและกรดไนตริก, ละลายได้เล็กน้อยในกรดอะซิติก, ไม่ละลายในเอทานอล
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : สลายตัว/ความร้อน ,จุดหลอมเหลว : 109 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรดแก่ ( เช่น กรดซัลฟูริค ) ทำให้เกิดปฏิกิริยารุนแรง
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูง , การเกิดฝุ่น
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น
- สารกัดกร่อนโลหะ : มีฤทธิ์กัดกร่อนอลูมิเนียมที่อุณหภูมิสูง
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ไม่ไวไฟ และไม่ก่อให้เกิดการติดไฟ
- ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการทำลายทางกายภาพ เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ
- เก็บสารไว้ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด เมื่อไม่ได้ใช้งาน และภาชนะที่ว่างเปล่า
- หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น
- เก็บแยกจากบริเวณเก็บสารเคมี
- ใช้เครื่องดูดฝุ่น ในการเก็บกวาดสารหกรั่วไหล
- อย่าใช้สารนี้กับสารที่เข้ากันไม่ได้ เช่น กรดแก่ , เบสแก่
- ติดฉลาก และหลีกเลี่ยงการทำลายภาชนะบรรจุ
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ