ชื่อสารเคมี : กรดบอริก
ชื่อภาษาอังกฤษ : Boric Acid
สูตรโครงสร้าง : H3BO3
ประโยชน์ : -
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : - , จุดหลอมเหลว : 169 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : โพแทสเซียม acitic anhydride เบส คาร์บอเนต และไฮดรอกไซด์
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : สูญเสียสมบัติทางเคมีเมื่อละลายน้ำ โดยให้ความร้อนเกิดกรดเมตาบอริก ที่อุณหภูมิ 212-221 ฟาเรนไฮด์ Pyroboric acid ที่อุณหภูมิ 285-320 ฟาเรนไฮด์ และ Boric anhydride ที่อุณหภูมิสูงขึ้น
- ถ้าได้รับความชื้น กรดบอริกจะมีฤทธิ์กัดกร่อนเหล็ก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ไม่ไวไฟและไม่ติดไฟ แต่จะสามารถระเบิดอย่างรุนแรงได้เมื่อได้รับแรงกระแทกอย่างหนัก
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บภายในที่ที่เย็น แห้ง
- ภาชนะบรรจุสารนี้ควรทำมาจากส่วนผสมของเหล็กที่มีคาร์บอนหรืออลูมิเนียม
- สำหรับการเก็บในสภาวะที่มีความชื้นควรใช้ภาชนะบรรจุที่ทำจากสแตนเลส
- ควรเก็บสารนี้ในห้องที่มีการควบคุมหรือป้องกันฝุ่นละอองในอากาศ
- หลังจากทำการเคลื่อนย้ายสารทุกครั้งให้ทำการล้างมือ
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผิวหนังถลอกหรือเป็นแผล
- ภาชนะบรรจุที่ว่างเปล่าแต่มีสารเคมีตกค้างอยู่อาจเป็นอันตรายได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Boric Acid
สูตรโครงสร้าง : H3BO3
ประโยชน์ : -
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : - , จุดหลอมเหลว : 169 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : โพแทสเซียม acitic anhydride เบส คาร์บอเนต และไฮดรอกไซด์
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : สูญเสียสมบัติทางเคมีเมื่อละลายน้ำ โดยให้ความร้อนเกิดกรดเมตาบอริก ที่อุณหภูมิ 212-221 ฟาเรนไฮด์ Pyroboric acid ที่อุณหภูมิ 285-320 ฟาเรนไฮด์ และ Boric anhydride ที่อุณหภูมิสูงขึ้น
- ถ้าได้รับความชื้น กรดบอริกจะมีฤทธิ์กัดกร่อนเหล็ก
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้ไม่ไวไฟและไม่ติดไฟ แต่จะสามารถระเบิดอย่างรุนแรงได้เมื่อได้รับแรงกระแทกอย่างหนัก
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด
- เก็บภายในที่ที่เย็น แห้ง
- ภาชนะบรรจุสารนี้ควรทำมาจากส่วนผสมของเหล็กที่มีคาร์บอนหรืออลูมิเนียม
- สำหรับการเก็บในสภาวะที่มีความชื้นควรใช้ภาชนะบรรจุที่ทำจากสแตนเลส
- ควรเก็บสารนี้ในห้องที่มีการควบคุมหรือป้องกันฝุ่นละอองในอากาศ
- หลังจากทำการเคลื่อนย้ายสารทุกครั้งให้ทำการล้างมือ
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผิวหนังถลอกหรือเป็นแผล
- ภาชนะบรรจุที่ว่างเปล่าแต่มีสารเคมีตกค้างอยู่อาจเป็นอันตรายได้
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ