ชื่อสารเคมี : โปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต
ชื่อภาษาอังกฤษ : Potassium Permanganate
สูตรโครงสร้าง : KMnO4
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารออกซิไดส์ , ใช้ในการวิเคราะห์เหล็ก , ควบคุมกลิ่น ใช้ในทางเกษตรล้างผักและผลไม้ และฆ่าเชื้อไข่พยาธิ
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีม่วงไม่มีสีไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : - , จุดหลอมเหลว : 240 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : ผงโลหะ, แอลกอฮอล์, สารอาร์เซไนท์, โบรไมด์, ไอโอไดด์, ฟอสฟอรัส, กรดกำมะถัน, สารประกอบอินทรีย์, กำมะถัน, ถ่านกัมมันต์, ไฮดราย, ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เข้มข้น, เหล็ก, เกลือเมอร์คิวรัส, ไฮโปฟอสไฟท์, ไฮโปซัลไฟท์, เปอร์ออกไซด์ และออกซาเลท (OXALATES)
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อถูกความร้อนจะสลายตัวให้ไอโลหะที่เป็นพิษออกมา
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง สามารถระเบิดได้เมื่อเกิดการสั่นสะเทือนอย่างแรง หรือสัมผัสถูกความร้อน เปลวไฟ หรือมีการเสียดสี
- การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรง
- ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน
- สารนี้ไม่ติดไฟ แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง ซึ่งเมื่อสัมผัสกับความร้อนที่เกิดจากการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวซ์ หรือสารที่สามารถลุกติดไฟได้จะทำให้เกิดการจุดติดไฟได้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด
- เก็บภายในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่อย่างดี
- ป้องกันการเสียหายทางกายภาพและความชื้น
- แยกเก็บออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ สารติดไฟได้ สารอินทรีย์ หรือสารออกซิไดซ์ได้ง่าย
- แยกออกจากแหล่งของความร้อนหรือแหล่งจุดติดไฟใดๆ
- หลีกเลี่ยงการเก็บไว้บนพื้นไม้
- ภาชนะบรรจุของสารนี้อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เมื่อเป็นถังเปล่าที่มีกากของเสียตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่นของแข็ง
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
ชื่อภาษาอังกฤษ : Potassium Permanganate
สูตรโครงสร้าง : KMnO4
ประโยชน์ : ใช้เป็นสารออกซิไดส์ , ใช้ในการวิเคราะห์เหล็ก , ควบคุมกลิ่น ใช้ในทางเกษตรล้างผักและผลไม้ และฆ่าเชื้อไข่พยาธิ
คุณสมบัติทางเคมี : เป็นผลึกของแข็งสีม่วงไม่มีสีไม่มีกลิ่น
จุดเดือด : - , จุดหลอมเหลว : 240 °C
ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยาเคมี :
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ
- สารที่เข้ากันไม่ได้ : ผงโลหะ, แอลกอฮอล์, สารอาร์เซไนท์, โบรไมด์, ไอโอไดด์, ฟอสฟอรัส, กรดกำมะถัน, สารประกอบอินทรีย์, กำมะถัน, ถ่านกัมมันต์, ไฮดราย, ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เข้มข้น, เหล็ก, เกลือเมอร์คิวรัส, ไฮโปฟอสไฟท์, ไฮโปซัลไฟท์, เปอร์ออกไซด์ และออกซาเลท (OXALATES)
- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อถูกความร้อนจะสลายตัวให้ไอโลหะที่เป็นพิษออกมา
การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด :
- สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง สามารถระเบิดได้เมื่อเกิดการสั่นสะเทือนอย่างแรง หรือสัมผัสถูกความร้อน เปลวไฟ หรือมีการเสียดสี
- การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรง
- ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน
- สารนี้ไม่ติดไฟ แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง ซึ่งเมื่อสัมผัสกับความร้อนที่เกิดจากการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวซ์ หรือสารที่สามารถลุกติดไฟได้จะทำให้เกิดการจุดติดไฟได้
การจัดเก็บ :
- เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด
- เก็บภายในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่อย่างดี
- ป้องกันการเสียหายทางกายภาพและความชื้น
- แยกเก็บออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ สารติดไฟได้ สารอินทรีย์ หรือสารออกซิไดซ์ได้ง่าย
- แยกออกจากแหล่งของความร้อนหรือแหล่งจุดติดไฟใดๆ
- หลีกเลี่ยงการเก็บไว้บนพื้นไม้
- ภาชนะบรรจุของสารนี้อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เมื่อเป็นถังเปล่าที่มีกากของเสียตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่นของแข็ง
** แหล่งข้อมูลมาจาก ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ